ใครเป็นคนประเมินความเสี่ยง เรื่องอันตรายในอุตสาหกรรมห้องเย็น ใครเป็นคนประเมินความเสี่ยง ตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่าด้วยหลักเกณฑ์การชี้บ่งอันตรายการประเมินความเสี่ยง และการจัดทำแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง พ.ศ. 2543 อ่านบทความ
กฏหมายว่าด้วย อันตรายในอุตสาหกรรมห้องเย็น กระทรวงอุตสาหกรรม กำหนดให้โรงงานอุตสาหกรรมจะต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตรายที่อาจเกิด จากการประกอบกิจการโรงงาน ที่เป็นห้องเย็นที่มีเลขทะเบียน อ่านบทความ
ฉนวนห้องเย็น และคุณสมบัติทางกายภาพที่น่ารู้ ฉนวนห้องเย็น ซึ่งทำหน้าที่ป้องกันความร้อน จากภายนอกห้องเย็น ความร้อนจากอากาศที่มีอุณหภูมิสูงกว่า ในห้องเย็นโดยรอบจะซึมผ่านแผ่นผนัง, เพดาน และพื้นห้องอยู่ตลอดเวลา อ่านบทความ
Molecular Sieve 1 กรัม มีพื้นที่ผิวเท่ากับ 700 ตารางเมตร ปริมาณ 1 กรัมของสาร อนินทรีย์ที่มีซิลิเกตของอลูมิเนียม และโซเดียม จะมีส่วนของ Molecular Sieve ที่เกิดจาก การรวมตัวของสารที่มีขนาดเล็ก เท่ากับ 3 Angstorm รวมพื้นที่ผิวแล้ว มีมากถึง 700 ตารางเมตร อ่านบทความ
ความชื้นกับสารทำความเย็น HFC (น้ำยาแอร์) ในปัจจุบันเริ่มมีการใช้สารทำความเย็น ชนิด HFC กับน้ำมัน POE แทนสารทำความ เย็นตัวเก่า ชนิด HCFC/CFC กับน้ำมัน Mineral ด้วยเหตุผลในแง่มุมของการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และปฏิกิริยา เรือนกระจก อ่านบทความ
ทำอย่างไร จึงจะทราบว่า มีอากาศหรือก๊าซในระบบ สารทำความเย็นที่กลั่นตัวจากเครื่องควบแน่นจะมีค่าอุณหภูมิสอดคล้องกับค่าความดันควบแน่น ซึ่งถ้าเราพบว่าค่าความดันของระบบสูงกว่าค่าที่เป็นความดันควบแน่นนั้น แสดงว่ามีอากาศหรือก๊าซที่ไม่กลั่นตัวปนอยู่ อ่านบทความ
เครื่องไล่อากาศออกจากระบบทำความเย็น วิธีการไล่อากาศแบบเดิมๆ ซึ่งเรามักจะใช้พนักงานช่างไปเปิดวาล์วไล่อากาศ จะมีค่าใช้จ่ายสูงในแง่ของการสูญเสียน้ำยาทำความเย็น และอาจจะทำให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ อ่านบทความ
ทำอย่างไรจึงจะรู้ว่าสารทำความเย็นรั่ว สังเกตุอาการรั่วของสารทำความเย็น หรือน้ำยาแอร์รั่วในระบบ พร้อมวิธีการขั้นตอนในการดูแล บำรุงรักษา เพื่อป้องกันเหตุอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับระบบปรับอากาศ อ่านบทความ
การออกแบบหรือใช้งานห้องเย็นแบบ คอยล์เป่าลมเย็น (Design of Forced-Air Coolers) การออกแบบหรือใช้งานห้องเย็นแบบ คอยล์เป่าลมเย็น โดยคำนึงจาก ชนิดสินค้า, ชนิดของบรรจุภัณฑ์และการจัดวางสินค้า และ ระยะเวลาการปรับลดอุณหภูมิ อ่านบทความ